ด้วยฐานการทำงานของฐานงานไฟฟ้า
2. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ในโลหะตัวนำ
โดยใน 2 วินาที
จะเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่หน้าตัดแห่ง
หนึ่ง
4x1010 ตัว จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวนำนี้
โจทย์ให้
1. เวลา (t) = 2 s.
2. อิเล็กตรอนอิสระเคลื่อนที่ผ่านพื้นที่หน้าตัด
= 4x1010 ตัว
เรารู้ความสัมพันธ์ Q, N, e
Q = ประจุ (Charge)
N=จำนวนอนุภาคของไฟฟ้านั้น
I = กระแสไฟฟ้า (Electric
current) amps, A
1. | |
I = 3.2 x 10-9 A
I = 3.2 nA Ans
I = 3.2 nA Ans
เพื่อให้เห็นภาพว่า Ne มาได้อย่างไร !
อิเล็กตรอน
1 ตัว มี
1 e ก็คือ 1.6 x
10 -19 C
อิเล็กตรอน
2 ตัว มี 2 e ก็คือ
2 x 1.6 x 10 -19 Cอิเล็กตรอน N ตัว มี Ne ก็คือ N 1.6 x 10 -19 C
·ในที่นี้ N ก็คือ 4 x 1010
ในเวลา t มีอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าจำนวน N ตัว เคลื่อนที่ผ่านภาคตัดขวางของตัวกลาง ถ้าอนุภาคแต่ละตัวมีประจุไฟฟ้า e ดังนั้นประจุไฟฟ้าทั้งหมด q ที่ผ่านภาคตัดขวางจะเท่ากับ Ne
ดูโจทย์อีกสัก ข้อ ซึ่งเป็นโจทย์ของต่างชาตินะครับ ถือว่าเป้นการทบทวนนะครับ
How many electrons are in 280 C of charge ?
สิ่งที่โจทย์ให่้มา
- จำนวนของประจุไฟฟ้า
(Quantity of Charges) Coulomb (C) = 280 C
- e = 1.6 x 10 -19 C สำหรับค่านี้ ปกติโจทย์สอบเข้ามหาวิทยาลัย, สอบโควต้า, Addmission มักจะให้มาครับ
แต่จำไว้ก็ดีนะครับ
โจทย์ถาม จำนวนอนุภาค (n)
เรารู้

คิดเชื่อมโยงครับ
N = Q /E
N = 280 / 1.6 x 10 -19
N = 1.75 x 10 21 electrons Ans.
ทบทวนสูตรเพิ่มเติมของเก่านะครับ เกี่ยวกับสนามไฟฟ้า
สนามไฟฟ้า
(E) คือแรงที่กระทำต่อประจุทดสอบหนึ่งหน่วยซึ่งวางไว้ที่ตำแหน่งใดๆเป็นปริมาณเวกเตอร์มี
หน่วยเป็นนิวตันต่อคูลอมบ์
F = qE
I
= nevA
1.
วัตถุที่มีประจุไฟฟ้าจะดูดวัตถุที่เป็นกลางเสมอ
1.
ประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกันจะผลักกันประจุไฟฟ้าต่างชนิดกันจะดูดกัน
https://sakrawee.wordpress.com/สนามไฟฟ้า/
http://www.cpn1.go.th/media/thonburi/lesson/15_ElectricMageticI/content2.html
http://www.cpn1.go.th/media/thonburi/lesson/15_ElectricMageticI/content2.html
หมายเหตุ เอกสารชุดนี้จัดทำโดยนายฤทธิชัย แซ่เตีย เป็นผู้จัดทำแต่เพียงผู้เดียว ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด